Site icon HealthSmile.co.th ตรวจสุขภาพ

ตรวจ NIPT 23 โครโมโซม, ตรวจโครโมโซม 23 คู่ รู้อะไรบ้าง?

ตรวจ NIPT 23 โครโมโซม, ตรวจโครโมโซม 23 คู่ รู้อะไรบ้าง?

ตรวจ NIPT 23 โครโมโซม, ตรวจโครโมโซม 23 คู่ รู้อะไรบ้าง?

การตรวจคัดกรองความผิดปกติที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมของทารกในครรภ์ที่มีความแม่นยำสูง หรือที่เรียกว่าการตรวจ NIPT (Non-Invasive Prenatal Testing) นั้น สำหรับแพคเกจทีตรวจโครโมโซมได้ 23 คู่ หรือ การตรวจโครโมโซม 23 คู่ของทารกในครรภ์ ที่เฮลท์สไมล์ให้บริการตรวจ จะมีแพคเกจที่สามารถตรวจโครโมโซมได้ครบทั้ง 23 คู่อยู่ทั้งหมด 3 แพคเกจ ได้แก่

ซึ่งการตรวจภาวะขาด-เกินของโครโมโซมของทารกในครรภ์ ครบทั้ง 23 คู่นั้นสามารถให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของทารกในครรภ์ได้หลายด้าน ดังนี้

1. ตรวจ NIPT หาความเสี่ยงของโรคโครโมโซมผิดปกติ 3 คู่หลัก (Chromosomal Aneuploidies)

การตรวจ NIPT 23 โครโมโซมนั้น สำคัญที่สุด คือการตรวจหาภาวะขาด-เกิน ของโครโมโซมคู่หลัก 3 คู่ ที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของโครโมโซม ได้แก่ เช่น ดาวน์ซินโดรม (Trisomy 21), เอ็ดเวิร์ดซินโดรม (Trisomy 18), และ พาทัวซินโดรม (Trisomy 13) ซึ่งทั้งสามโครโมโซมคู่หลักๆนี้ จะเป็นความผิดปกติของโครโมโซมที่พบได้บ่อย ดังนี้

2. ตรวจ NIPT รู้เพศของทารก (Fetal sex)

การตรวจ NIPT สามารถระบุเพศของทารกได้อย่างแม่นยำ เนื่องจากสามารถตรวจสอบโครโมโซมเพศ (X และ Y) ได้ โดยค่าความแม่นยำของการตรวจเพศของทารกในครรภ์ (ดูจากโครโมโซม) จะอยู่ที่ประมาณ 99.53%

ซึ่งสาเหตุของความผิดพลาดของการตรวจเพศของทารกในครรภ์ด้วยการตรวจ NIPT นั้นมีได้จากหลายสาเหตุ เช่น

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม ที่นี่ ตรวจดาวน์ซินโดรม (NIPS, NIPT, NIFTY) แล้วผลเพศไม่ตรงกับลูกเรา เกิดจากอะไร

3. ตรวจ NIPT หาความผิดปกติของโครโมโซมเพศ

นอกจากจะตรวจเพศได้แม่นยำแล้ว การตรวจ NIPT นั้นสามารถตรวจหาความผิดปกติของการขาด-เกินของโครโมโซมเพศ ได้ 4 โรค เช่น

แต่ทั้งนี้ การตรวจความผิดปกติของโครโมโซมเพศนั้น ไม่ได้เกี่ยวของกับการทำนาย หรือการตัดสินในทางทางเพศสภาพของเด็กนั้นๆ คือจะสามารถบอกได้ว่าต่อไปในอนาคตลูกจะเป็นกระเทย หรือตุ้ด หรือ เลสเบี้ยน หรือ LGBTQA+ ต่างหรือไม่ เนื่องจากกลุ่ม LGBTQA+ นั้นไม่ได้มีความผิดปกติที่เกี่ยวกับโครโมโซมเพศแต่อย่างใด แต่เป็นเพศวิถีต่าง ๆ ของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ

สำหรับรายการที่ตรวจได้ในข้อ 1-3 ด้านบนนี้ สามารถตรวจได้ในแพคเกจ 5 โครโมโซม ซึ่งเป็นแพคเกจพื้นฐานที่สุดที่เฮลท์สไมล์ให้บริการ คือ

รูปแสดงขนาดของโครโมโซมแต่ละคู่

4. ตรวจ NIPT หาความผิดปกติของโครโมโซมคู่อื่นๆ

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 1

โครโมโซม 1 เป็นโครโมโซมของมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุด ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 249 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 1 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 2

โครโมโซม 2 เป็นโครโมโซมใหญ่เป็นอันดับที่สองของมนุษย์ ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 243 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 2 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 2

โครโมโซม 2 เป็นโครโมโซมใหญ่เป็นอันดับที่สองของมนุษย์ ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 243 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 8 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 2 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 3

โครโมโซม 3 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 198 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 6.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 3 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 4

โครโมโซม 4 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 191 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 4 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 5

โครโมโซม 5  ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 181 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 5 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 6

โครโมโซม 6 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 171 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 5.5-6 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 6 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 7

โครโมโซม 7 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 159 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์ หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 7 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น มักจะเป็นกลุ่ม microdeletion / duplication syndrome ที่สามารถตรวจได้จาก package NIFTY Pro เท่านั้น* เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 8

โครโมโซม 8 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 146 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 4.5-5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

หากมีการขาดหาย หรือการเกินของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง (Trisomy 8) ทารกมักจะเสียชีวิตในครรภ์เช่นเดียวกับโครโมโซมคู่ที่ 1 แต่กรณีภาวะ Mosaic ของโครโมโซมคู่นี้ก็อาจจะทำให้มีชีวิตได้ แต่ก็จะมีความผิดปกติค่อนข้างมากทั่วทั้งร่างกาย

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 9

โครโมโซม 9 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 141 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 4.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

หากมีการขาดหายของโครโมโซมคู่นี้ทั้งแท่ง จะสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 2 ขนาดเล็กๆ เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 10

โครโมโซม 10 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 133 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 4-4.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่ที่ 10 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 11

โครโมโซม 11 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 135 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 4-4.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 11 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

  • Beckwith-Wiedemann syndrome เป็นความผิดปกติของยีนที่ตำแหน่ง 11p15.5
  • Emanuel syndrome
  • Ewing sarcoma
  • Jacobsen syndrome เกิดจากการขาดหายไปของตำแหน่งปลาย 11q

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 12

โครโมโซม 12 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 134 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 4-4.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 12 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

  • Pallister-Killian mosaic syndrom

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 13

โครโมโซม 13 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 115 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 3.5-4 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 13 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 14

โครโมโซม 14 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 107 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 3.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 14 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 15

โครโมโซม 15 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 102 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 15 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 16

โครโมโซม 16 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 90 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 16 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 17

โครโมโซม 17 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 83 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 2.5-3 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 17 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 18

โครโมโซม 18 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 78 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 2.5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 18 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 19

โครโมโซม 19 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 59 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 19 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 20

โครโมโซม 20 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 63 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 12 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21

โครโมโซม 21 ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 48 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 1.5-2 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 21 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 22

โครโมโซม 22 เป็นโครโมโซมที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับสอง ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 51 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 1.5-2 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมคู่ที่ 12 และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

ความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 23 (โครโมโซมเพศหญิง X และ เพศชาย Y)

โครโมโซมเพศหญิง เป็นโครโมโซมที่มีขนาดใหญ่ ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 155 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

โครโมโซมเพศชาย มีขนาดเล็กกว่าโครโมโซมเพศหญิง ครอบคลุมหน่วยการสร้างดีเอ็นเอ (Base pair) ประมาณ 59 ล้านหน่วย และคิดเป็นประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ของดีเอ็นเอทั้งหมดในเซลล์

ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ

ตัวโรคที่เกิดจากความผิดปกติในโครโมโซมเพศ และทารกในครรภ์อาจจะยังมีชีวิตรอดได้นั้น เช่น

*หมายเหตุ

NIFTY Pro สามารถตรวจคัดกรองความผิดปกติที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมขนาดเล็ก (Microdeletion / duplication syndrome) ได้ แต่มีข้อจำกัด คือ ไม่สามารถตรวจความผิดปกติในระดับยีนได้ และรับประกันเฉพาะความผิดปกติที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมที่มีขนาดมากกว่า 5 ล้าน Base pair และยังมีข้อจำกัดหลายๆอย่างที่เทคโนโลยีการตรวจ NIPT ไม่สามารถตรวจได้ เช่น ring chromosome, translocation ฯลฯ

ดังนั้น หากเป็นความผิดปกติของโครโมโซมขนาดเล็กมากๆ หรือ เป็นความผิดปกติในระดับยีน (เช่น โรคธาลัสซีเมีย) NIFTY Pro หรือเป็นความผิดปกติที่พบไม่บ่อย ก็จะไม่สามารถตรวจได้

อ่านเพิ่มเติม ประกันของการตรวจ NIFTY Focus , NIFTY Core และ NIFTY Pro มีรายละเอียดอย่างไร อย่างไหนจ่าย อย่างไหนไม่อยู่ในประกัน?

สรุป

NIPT เป็นการทดสอบที่ไม่รุกรานและมีความแม่นยำสูงในกรณีของความผิดปกติของโครโมโซม เช่น การทดสอบสำหรับดาวน์ซินโดรม พาทัวซินโดรม และเอ็ดเวิร์ดซินโดรม รวมถึงโครโมโซมเพศต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถบอกความผิดปกติที่เกิดจากการขาด-เกินของโครโมโซมคู่อื่นๆได้อีกด้วย ดังนั้น การตรวจ NIPT จึงเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญในการประเมินความเสี่ยงของความผิดปกติทางโครโมโซมในทารกที่ตั้งครรภ์ และสามารถให้ข้อมูลที่มีประโยชน์ในการตัดสินใจทางการแพทย์ต่อไปได้เป็นอย่างดี

Reference

Chromosomes & mtDNA. (n.d.). Medlineplus.gov. Retrieved November 18, 2024, from https://medlineplus.gov/genetics/chromosome

Exit mobile version